หลักการ แนวคิด ทฤษฎี : เพื่อพัฒนาคู่มือการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเองสำหรับบริการการท่องเที่ยวในชุมชน

  • เดชา ตาละนึก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • พระครูใบฏีกาทิพพนากรณ์ ชยาภินันโท มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
คำสำคัญ: คู่มือการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเอง, การท่องเที่ยวชุมชน

บทคัดย่อ

การพัฒนาคู่มือการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเองสำหรับชุมชนท่องเที่ยวเพื่อเตรียมพร้อมในการทำงานด้านอุตสาหกรรมบริการการท่องเที่ยวชุมชนต่อนักท่องเที่ยวต่างชาติ มุ่งสร้างเนื้อหาที่เป็นอัตลักษณ์และวัฒนธรรมท้องถิ่นก่อให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างคนต่างวัฒนธรรม สร้างความเข้าใจและเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์โดยชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางและตัดสินใจ เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง อีกทั้งเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิต มีการกระจายรายได้สู่ชุมชน สร้างความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน

บรรณานุกรม

กรมการพัฒนาชุมชน. (2561). แนวทางการดำเนินงานโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี. กรุงเทพมหานคร: กรมการพัฒนาชุมชน.
กรมวิชาการ. (2545). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2556). โอกาสทางการตลาดท่องเที่ยวไทยบนความท้าทายกับการก้าวสู่ AEC. TAT Tourism Journal. 10(2): 30-39.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). จำนวนและรายได้นักท่องเที่ยวต่างชาติ รายเดือน ปี 2559-2562P. สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคมhttps://www.mots.go.th/more_news_new.php?cid=585.
จุฑามาส เพ็งโคนา และคณะ. (2560). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร. รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์. (2539). การพัฒนาหลักสูตร: หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: อลีนเพรส.
ปรีชา ช้างขวัญยืน และคณะ. (2542). ธรรมรัฐ-ธรรมราชา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรีชา สัจจากุล. (2550). การพัฒนาคู่มือระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนราชประชานะเคราะห์ 36
จังหวัดระนอง. ภาคนิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
ปวันรัตน์ นิกรกิตติโกศล. (2559). การพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษ สำหรับผู้ประกอบการร้านขายของที่ระลึก ร้านอาหารและเครื่องดื่มที่เกาะเกร็ดจังหวัดนนทบุรี. วารสารสมาคมนักวิจัย. กรุงเทพมหานคร
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (2563). “คู่มือ”. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม. http://www.royin.go.th/dictionary/index.php.
รณวีร์ พาผล, เดชา ตาละนึก. (2561). การบูรณาการการเรียนรู้ภาษาอังกฤษกับการทำงานของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. แพร่.https://www.tatreviewmagazine.com/article/cbt-thailand/
ศักรินทร์ สุวรรณโรจน์ และคณะ. (2535). คู่มือการทำผลงานทางวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: ประดิพัทธ์.
อมรรัตน์ ศูนย์กลาง. (2544). การพัฒนาคู่มือการจัดการเรียนการสอนแบบ
บูรณาการสำหรับครูประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อาชัญญา รัตนอุบล. (2555). พัฒนาการการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมสำหรับผู้ใหญ่. กรุงเทพมหานคร: สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน ภาควิชา นโยบาย การจัดการ และความเป็นผู้นำทางการ ศึกษาคณะครุศาสตร์.
TAT REVIEW MAGAZINE. (2563). “การท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน”. สืบค้นเมื่อ 6 พฤษภาคม.https://www.tatreviewmagazine.com/article/community-based-tourism/.
Brumfit. (1983). Communicative Methodology in language Teaching. Cambridge: Cambridge University Press
เผยแพร่แล้ว
2022-02-11